การบรรยาย
“หลักธรรมพื้นฐานที่ชาวพุทธพึงรู้” น.สพ.สมชัย วิเศษมงคลชัย
ณ ธรรมสถาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โลกก็เป็นอย่างนี้เอง เป็นเช่นนี้เองไม่เป็นอื่น เป็นสังขารธรรม ที่มีการปรุงแต่งไปตามเหตุปัจจัย เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เป็นไปตามกระแสแห่งปัจจยการหรือ
ปฏิจจสมุปบาท เพราะสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดสิ่งนี้จึงเกิด เพราะสิ่งนี้ดับสิ่งนี้จึงดับ เป็นอยู่เช่นนี้โดยหาต้นไม่พบ ปลายไม่เจอ แต่ยังมีธรรมในอีกมิติหนึ่ง คืออสังขตธรรม เป็นธรรมที่เหนือการปรุงแต่ง อยู่เหนือการเวียนว่ายในวัฏสงสาร สงบเย็น ปราศจากความเร่าร้อน ด้วยกิเลส ตัณหา อุปาทาน มานะ ทิฏฐิใดๆ การจะเข้าถึงธรรมะในมิตินี้ได้ ต้องเริ่มต้นจากการปฏิบัติที่เรียกว่าสติปัฏฐาน 4 โดยมีอานาปานสติเป็นวิธีการปฏิบัติ ซึ่งมีองค์ประกอบแห่งองค์ธรรมคือ
สติ สัมปชัญญะ และความเพียร
หลักธรรมพื้นฐานที่ชาวพุทธพึงรู้
เกริ่นนำ วินัยและหลักปฏิบัติสำหรับฆราวาส
วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2563
ศูนย์การศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายวิชา “ พุทธบัณฑิตจุฬาฯสง่างาม ”
ภาคฤดูร้อนปีการศึกษา 2562
หัวข้อ “ หลักธรรมพื้นฐานที่ชาวพุทธควรรู้ ”
ศูนย์การศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายวิชา “ พุทธบัณฑิตจุฬาฯสง่างาม ”
ภาคฤดูร้อนปีการศึกษา 2562
หัวข้อ “ หลักธรรมพื้นฐานที่ชาวพุทธควรรู้ ”
วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563
หนังสือประกอบการศึกษาเรียนรู้และบรรยาย
พจนานุกรมพุทธศาสตร์
ฉบับประมวลศัพท์ (ป.อ.ปยุตโต)
พจนานุกรมพุทธศาสตร์
ฉบับประมวลธรรม (ป.อ.ปยุตโต)
หลักธรรมพื้นฐานที่ชาวพุทธควรรู้
แต่งโดย เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นิสิตเห็นภาพรวมของหลักสูตร
ที่จะมุ่งเน้นเสริมสร้างความเข้มแข็ง ความภาคภูมิใจและความมั่นใจในความเป็นพุทธบริษัท
ให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจทั้งในส่วนหลักธรรมและหลักปฏิบัติในภาพรวมอย่างเพียงพอ
ตลอดจนสามารถประกอบพิธีกรรมที่จำเป็นต้องเกี่ยวข้องเป็นประจำได้เป็นอย่างดี
นิสิตจะมีพื้นฐานในการดำรงตนเป็นพุทธบริษัทที่สง่างาม
และสามารถครองตนอย่างมั่นคง และเป็นสุข อยู่ในแนวทางชีวิตที่ถูกต้องและดีงาม
วินัยและหลักปฏิบัติสำหรับฆราวาส
วินัยสำหรับพระภิกษุสามเณรและมหาปเทส 4
สังขตธรรม ธาตุ อายตนะ ขันธ์ กลไกของชีวิต